หน่วยความจำแคช
Cache คือหน่วยความจำอย่างหนึ่ง
มีความเร็วในการเข้าถึงและการถ่ายโอนข้อมูลที่สูง
ซึ่งมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลที่เราต้องการจะใช้งานบ่อยๆ เพื่อเวลาที่ CPU ต้องการใช้ข้อมูลนั้นๆ
จะได้ค้นหาได้เร็ว โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องไปค้นหาจากข้อมูลทั้งหมดซึ่งทำให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลของเราได้รวดเร็วยิ่งขึ้น Cache
มี 2 แบบคือ
1. disk
cache
คือ การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำหลักของเราก่อน เมื่อ CPU ต้องการจะหาข้อมูล ก็จะหาใน dish
cache ก่อนแล้วค่อยเข้าไปค้นหาใน
Harddisk
2. Memory
cache
จะดึงข้อมูลมาเก็บไว้ใน memory
ซึ่งจะถึงข้อมูลได้รวดเร็วกว่า
แต่มีความจำที่เล็กกว่า เพราะฉะนั้นถ้า คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่มี cache
ความเร็วสูงก็จะเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย
แต่อย่างไรก็ตามยิ่งขนาดใหญ่ก็เก็บข้อมูลได้เยอะ แต่การเข้าถึงจะช้ากว่า cache
ที่มีขนาดเล็ก ระบบ Cache นอกจาก ใน computer
แล้ว ระบบ Cache
ยังเอามาใช้งานบนเว็บ
ด้วย CMSส่วนใหญ่จะมีระบบ Cache เพื่อลดภาระการทำงานของฐานข้อมูลลงหน่วยความจำรอง
หน่วยความจำรอง
(หน่วยความจำมัธยม)
หน่วยความจำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage)
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ไว้
และสามารถนำกลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจำสำรอง (Secondary
Memory) ประกอบด้วย
1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีเครื่องขับแผ่นบันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว
แผ่นบันทึกที่ใช้ในปัจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว
ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบผิวด้วยสารแม่เหล็กอยู่ในกรอบพลาสติกแข็ง
เพื่อป้องกันการขีดข่วน
การเก็บข้อมูลจะทำโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น
ปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน หัวอ่านของเครื่องขับจึงมีสองหัว
แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่ หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูลในตำแหน่งที่อยู่ที่ต้องการ
ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวงเรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่า
เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44 เมกะไบต์
2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน
หัวอ่านของเครื่องขับจะมีหลายหัว ในขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะเคลื่อนที่เข้าออกเพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง เรียกแต่ละวงของทุกแผ่นว่าไซลินเดอร์
(cylinder) แต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็นเซกเตอร์ แต่ละเซกเตอร์เก็บข้อมูลเป็นชุดๆ
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็นกิกะไบต์
เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์จะกระทำเป็นเซกเตอร์
และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที
3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของเทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สำหรับเก็บข้อมูลจำนวนมาก
มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลำดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลำดับ (sequential access) เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ 5 บนเทป เราจะต้องอ่านข้อมูลลำดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูลที่เราต้องการ ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสำหรับใช้สำรองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหาย
ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจำเป็นต้องเก็บสำรองข้อมูลไว้
4. แผ่นซีดี (ดิสก์ขนาดกะทัดรัด: CD) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจำรองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ ปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่นซีดีใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่างเดียว เรียกกันว่า ซีดีรอม (CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์
ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น
แผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น จนสามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
หน่วยความจำรอง
หน่วยความจำรอง
(หน่วยความจำหรือหน่วยรองรองการจัดเก็บข้อมูลภายนอกหรือ Storage) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล
และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในครั้งต่อไป
สื่อบันทึกข้อมูลในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิด
ทั้งนี้เนื่องมาจากเทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วมาก จึงทำให้สื่อบันทึกข้อมูลมีการพัฒนาตามไปด้วยโดยมีขนาดเล็กลงมีความจุมากขึ้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีเทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วมาก
ทำให้สื่อบันทึกข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
โดยมีขนาดเล็กลงแต่มีความจุในการบันทึกข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
สื่อบันทึกข็อมูลเป็นหน่วยความจำสำรองซึ่งเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถเก็บข้อมูลไว้ตลอดไปหลังจากที่เราได้ทำการปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ไปแล้ว
หน่วยความจำสำรองจะช่วยให้เราสามรถเก็บรักษาข้อมูลเพื่อเก็บไว้ใช้ในการทำงานต่อไปในอนาคต
ทั้งนี้เพราะการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะต้องกระทำกับข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำหลักเท่านั้น
แต่เนื่องจากเนื้อที่ในหน่วยควาจำหลักมีจำกัดหรือมีไม่เพียงพอ
บางครั้งจึงไม่สามารถเก็บข้อมูลทั้งหมดเอาไว้ได้
ดังนั้นถ้าผู้ใช้ต้องการเก็บข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักไว้อย่างถาวรเพื่อจะได้นำมากลับมาใช้อีกหรือนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น
ๆ ก็จำเป็นต้องถ่ายโอนข้อมูลจากหน่วยความจำหลักไปเก็บไว้ที่สื่อบันทึกข้อมูล
หรือหน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage) สื่อบันทึกข้อมูลชนิดต่าง ๆ ที่ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์มีดังนี้
อุปกรณ์ สื่อบันทึกข้อมูลและเทคโนโลยีบันทึกข้อมูล
1.ฟลอปปีดิสก์
แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์
หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ เป็น อุปกรณ์เก็บข้อมูล ที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก
โดยทั่วไปมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยม
คอมพิวเตอร์สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดิสก์ ผ่านทางฟลอปปีดิสก์ไดร์ฟ
(ฟลอปปี้ดิสก์ไดรฟ์)
แผ่น Floppy Disk ขนาด 3.5 นิ้ว และ 5.25 นิ้ว
2.Harddisk
ฮาร์ดดิสก์ หรือ จานบันทึกแบบแข็ง
(ฮาร์ดดิสก์)คืออุปกรณ์บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด ( เมนบอร์ด)ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน ( PATA)แบบอนุกรม ( SATA)และแบบเล็ก ( SCSI)ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท แอปเปิ้ลที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า
รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก ( eSATA)ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
ความจุของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปในปัจจุบันนั้นมีตั้งแต่ 20 ถึง 250 กิกะไบต์ ยิ่งมีความจุมาก
ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ฮาร์ดดิสก์
3. CD-ROM Drive
แผ่นซีดีรอมเป็นสื่อในการเก็บข้อมูลแบบออปติคอล (Optical
Storage)ใช้ลำแสงเลเซอร์ในการอ่านข้อมูล
แผ่นซีดีรอม ทำมาจากแผ่นพลาสติกเคลือบด้วยอลูมิเนียม
เพื่อสะท้อนแสงเลเซอร์ที่ยิงมา เมื่อแสงเลเซอร์ที่ยิงมาสะท้อนกลับไป
ที่ตัวอ่านข้อมูลที่เรียกว่า ตรวจจับภาพก็อ่านข้อมูลที่ได้รับกลับมาว่าเป็นอะไร
และส่งค่า 0 และ 1 ไปให้กลับซีพียู เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป
ซีดีรอมไดรฟ์
4. DVD-ROM
ดีวีดี ( ดีวีดี;
Digital อเนกประสงค์ Disc)เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง
(แผ่นแสง)ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี
ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน ( เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร )
แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า
เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า แผ่นวิดีโอดิจิตอลแต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น ดิจิตอลดิสก์อเนกประสงค์ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว ดีวีดีไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด
เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer)คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี
DVD-ROM
4.2
ชนิดของแผ่นดีวีดีที่ใช้บันทึกนั้นมีอยู่ 6 ชนิด คือ
4.2.1 แผ่น DVD-R (DVD ที่สามารถบันทึก)
เป็นแผ่นที่สามารถบันทึกข้อมูลได้หลายครั้ง (หลายมาตรา) จนกว่าจะเต็มแผ่น
โดยสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ต่อจากข้อมูลเก่าไปเรื่อยๆ จนเต็มแผ่น
เมื่อบันทึกข้อมูลแล้วไม่สามารถลบหรือบันทึกข้อมูลใหม่ทับบนข้อมูลเดิมที่
บันทึกไปแล้วได้ สามารถบันทึกข้อมูลได้ 4.7 GB
แผ่น DVD-R
4.2.2 DVD + Rเป็นแผ่นที่สามารถบันทึกข้อมูลได้หลายครั้ง (หลายมาตรา) จนกว่าจะเต็มแผ่น
โดยสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ต่อจากข้อมูลเก่าไปเรื่อยๆ จนเต็มแผ่น
เมื่อบันทึกข้อมูลแล้วไม่สามารถลบหรือบันทึกข้อมูลใหม่ทับบนข้อมูลเดิมที่
บันทึกไปแล้วได้ บันทึกไปแล้วได้ สามารถบันทึกข้อมูลได้ 4.7
GB
แผ่น DVD + R
4.2.3 DVD-RW (DVD-Rewritable) ไม่สามารถทำหลายเซสชันเช่นตอนแรกไรท์แค่
1G แต่จะมาไรท์ต่ออีก
3G ไม่ได้จะเขียนก็ต้องลบทั้งหมด
(ลบข้อมูล) แล้วเรี่มใหม่ และจะเล่นได้กับไดรว์ DVD-R/RWบนเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
แผ่น DVD-RW
4.2.4
DVD+RW สามารถทำ Multi Session ได้ (ฟังชันการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนๆ มีให้เลือกใน โปรแกรม Nero
หน้าจอสุดท้ายก่อนที่เราจะเบิร์นแผ่น)
คือ เขียนต่อได้หรือเขียนข้อมูลเพิ่มได้ภายหลัง เช่น ตอนแรกเราไรท์แค่ 1G แล้วไรท์ต่ออีก 3G ก็ยังได้ (่ตอนไรท์ต้องเปิด Multi
Session ด้วย)
ข้อดีของ DVD-RW
และ DVD+RW
คือ
สามารถนำกลับมาบันทึกใหม่ ได้กว่า 100,000 ครั้ง
แต่ดีวีดีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบันนี้คือ DVD-R
แผ่น DVD + RW
4.2.5 DVD-R DL เป็นแผ่น DVD ที่เขียนได้ครั้งเดียว
แล้วก็เป็นแบบ DL = Dual Layer ก็แปลว่ามันสามารถเขียนได้ความจุมากสุดคือ 8.7 กิกะไบท์ (มักเรียกกันว่า DVD9)
ถ้าเป็น Single
Layer ก็จะสามารถเขียนได้มากสุด
4.7 กิกะไบท์
(มักเรียกกันว่า DVD5)
DVD-R DL
4.2.6
DVD+R DL เป็นแผ่น DVD ที่สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงด้านเดียว
เหมือนกับ DVD 5
แต่จะต่างกันที่มีการเพิ่มชั้น
ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูลเพิ่มขึ้นภายในหน้านั้นเป็น 2
ชั้นชนิดที่มีการบันทึกข้อมูลแบบหน้าเดียว แต่แบ่งส่วนการบันทึกข้อมูลได้ 2 ชั้น (Dual
Layer) สามารถพิมพ์ลวดลายลงบนแผ่นโดยตรงโดยใช้เครื่อง
Printer Inkjet มีขนาดความจุ 8.4GB
แผ่น DVD
+ R DL
4.2.7
DVD RAM เป็นดีวีดี
การทำงานเข้าถึงข้อมูลในแบบลำดับ เหมือนกับ Hard Disc โดยจะทำการบันทึกจะวางข้อมูลที่อยู่บนแผ่นต่อกันไปเรื่อยๆ
จนสิ้นสุดข้อมูลนั้นๆ และการอ่านจะเริ่มต้นจากจุดแรกของข้อมูลนั่นๆ
การบันทึกข้อมูลจะต้องเป็นไดร์ฟชนิดพิเศษในการอ่านและเขียนข้อมูล
ข้อดีสามารถบันทึกข้อมูลซ้ำไปซ้ำมาได้มากกว่า 100,000 ครั้ง ทำให้ถูกนำไปใช้อุปกรณ์สมัยใหม่มากขึ้นเช่น
กล้่องวิดีโอดิจิตอล
แผ่นดีวีดีแรม
5.แฟลชไดรฟ์
(แฟลชไดรฟ์)
แฟลชไดรฟ์ หรือ ยูเอสบีไดรฟ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจำแบบแฟลช
ทำงานร่วมกับยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีลักษณะเล็ก
น้ำหนักเบาเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (ไดรฟ์)
สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย พอร์ต USBปัจจุบันความจุของไดร์ฟมีตั้งแต่ 8,
16, 32, 64, 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์
ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) บางรุ่นมีความจุสูงถึง16
กิกะไบต์โดยทั่วไปไดรฟ์จะทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์98 /
ME / 2000 / XPแมคอินทอช
ลินุกซ์ และยูนิกซ์ แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง"ทัมบ์ไดรฟ์" "คีย์ไดรฟ์" "จัมป์ไดรฟ์" และชื่อเรียกอื่น
โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต
6. เทคโนโลยี บลูเรย์
บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray
Disc)หรือ บีดี (BD)คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง
ชื่อของบลูเรย์มาจาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 นาโนเมตรของเลเซอร์สี “ฟ้า” ซึ่งทำให้สามารถทำให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี
ที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร
บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc)
7. เทคโนโลยี HD-DVD
HD DVD (High Definition DVDหรือ ความหนาแน่นสูง DVD)เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง
(แผ่นแสง)ที่ใช้บันทึกวิดีโอความละเอียดสูง (ความคมชัดสูง )หรือข้อมูลชนิดอื่นๆ
ก็ได้ HD DVDมีลักษณะใกล้เคียงกับ บลูเรย์ซึ่งเป็นแผ่นบันทึกข้อมูลคู่แข่ง
โดยใช้ขนาดแผ่นเท่ากับซีดีรอม ( เส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม. )
8. Floptical ดิสก์
เป็นการนำเทคโนโลยีด้านแสงเข้ามาช่วยในการบันทึกข้อมูล
แต่ไม่ได้ใช้แสงโดยตรง ลักษณะ ดิสก์ Flopticalจะมีรูปร่างเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วทุกประการ
แต่มีความจุมากขึ้นเป็น 120 เมกะไบต์ทีเดียว
และตัวไดรว์ยังใช้อ่านเขียนข้อมูลแผ่นดิสก์ธรรมดาได้ด้วย ชื่อทางการค้าของ
แผ่น Floptical Disk
9. ไดรฟ์ไปรษณีย์
นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีคล้ายกัน
แต่รูปแบบต่างกันไป เช่น ไดรฟ์ซิปจากIomegaที่ออกมาก่อน SuperDiskแต่ได้รับความนิยมมากพอสมควร ไดรฟ์ซิปมีทั้งรุ่นที่ต่อกับพอร์ตขนาน, พอร์ต USBและแบบ SCSIและได้เพิ่มความจุจาก 100 เป็น 250 เมกะไบต์Iomegaยังได้ผลิต ผมไดรฟ์ที่มีลักษณะเหมือนฮาร์ดดิสก์ถอดได้
โดยจะมีตัวไดรว์เป็นระบบSCSIเท่านั้น
และมีแผ่นบรรจุข้อมูลขนาด 1 GBและ 2 GBนิยมใช้สำหรับการสำรองข้อมูลย้ายไปมา
เนื่องจากมีความเร็วน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ และยังมีราคาแพงกว่า ซิปหรือ SuperDiskมาก
ZIP drive
10. เทปแบ็คอัพ
(เทปสำรองข้อมูล)
เป็นอุปกรณ์สำหรับการสำรองข้อมูล
ซึ่งเหมาะกับการสำรองข้อมูลทีมีขนาดใหญ่ๆ ระดับ 10-100 กิกะไบต์
เทปแบ็คอัพ (เทปสำรองข้อมูล)
11. การ์ดเมมโมรี ( Memory
Card )
เป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลประเภทหน่วยความจำสำรองแบบ flash
memory ประเภทหนึ่งคะ
ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลงไปได้โดยที่ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่
ข้อมูลไม่มีการสูญหายเมื่อปิดสวิตซ์
มีความเร็วสูงในการขนถ่ายเคลื่อนย้ายข้อมูล
ส่วนที่ใช้บันทึกข้อมูลของเมมโมรี่การ์ดจะเป็นชิป ซึ่งเรียกว่า solid
state chips ซึ่งใช้กระบวนการทางไฟฟ้าในการบันทึกข้อมูล
และมีตัวควบคุมการอ่านและเขียนในตัว
การ์ดเมมโมรี ( Memory
Card ) พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล
คอมพิวเตอร์มือถือ ( ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วย PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
ปัจจุบันมีเมมโมรี่การ์ดมากมายหลากหลายแบรนด์เนมและขนาดความจุ
เช่น MultiMedia Cards (MMC) , Secure digital card (SD), MicroSD card,
CompactFlash card (CF), Memory stick (MS), XD บัตรรูปภาพ
การ์ดเมมโมรี ( การ์ดหน่วยความจำ) แบบต่างๆ
อ้างอิง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น